วันเสาร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ





















##สนใจสั่งซื้อมาที่ >>>โทร 090-8134236 (คุณนุชจรี)    ID Line :topsheet1
มี 2 แบบ
1.แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
2.แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 

กดไลท์ติดตามเพจงานราชการดีๆ http://goo.gl/RhUqPz
ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/




ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน












1
2
3
4
5
6
7
8





ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด้านชีววิทยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 การควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัตการ (Quality Control)
3 ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ISOIEC 17025
4 ความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา + ถามตอบ
5 ความรู้เรื่องพลาสติกและยางที่ใช้ในทางการแพทย์
6 การควบคุมคุณภาพและการทดสอบ
7 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา
8 แนวข้อสอบชีววิทยา



แนวข้อสอบ

++อัพเดทใหม่ล่าสุด แนวข้อสอบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทุกตำแหน่ง ฉบับใหม่ล่าสุด 
++เจาะลึกตรงประเด็น  เน้นๆ ข้อสอบคุณภาพ รวบรวมโดยทีมคณะอาจารย์ 
++รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ เก็งข้อสอบออกบ่อยๆทุกๆปี 
สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา  เข้าใจง่าย แนวข้อสอบ พร้อมเฉลย  
******************************************************

นักเทคนิคการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 พระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พ.ศ.2547
4 ความรู้เรื่องโลหิตวิทยา
5 ระบบภูมิคุ้มกัน
6 พันธุศาสตร์เบื้องต้น
7 ความรู้เกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์
8 ความรู้เรื่องเคมีคลิกนิก
9 ความรู้เรื่องธนาคารเลือด
10 แนวข้อสอบเทคนิคการแพทย์
11 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
พยาบาลวิชาชีพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
4 คำศัพท์ภาษาอังกฤษเรื่องการพยาบาล
5 แนวข้อสอบกฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
6 แนวข้อสอบการช่วยฟื้นคืนชีพ
7 แนวข้อสอบการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
8 แนวข้อสอบการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
9 แนวข้อสอบวิชาการพยาบาล
10 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 ความรู้เรื่องโลหิตวิทยา
3 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา
4 ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวเคมี
5 ความรู้ทั่วไปทางเภสัชวิทยา
6 การควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัตการ (Quality Control)
7 แนวข้อสอบ + ความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา
8 แนวข้อสอบพันธุศาสตร์ของแบคทีเรีย และไวรัส
9 แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน
10 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
 นักวิชาการสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 การส่งเสริมและแก้ปัญหาสุขภาพอนามัยตามกลุ่มวัย
4 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพ
5 แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
6 แนวข้อสอบสาธารณสุขชุมชน
7 แนวข้อสอบเฉพาะทาง สาธารณะสุข
8 แนวข้อสอบนักวิชาการสาธารณะสุข ชุด 1
9 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
นักฟิสิกส์รังสี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 สรุป+แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
4 ถาม-ตอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
5 ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
6 การป้องกันอันตรายจากรังสี
7 ผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิต
8 เครื่องวัดรังสีและการเลือกใช้
9 แนวข้อสอบฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10 ความรู้เกี่ยวกับรังสีวิทยาทั่วไป
11 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
4 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
5 ความรู้เบื้องต้นในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
6 แนวข้อสอบเรื่องการออกแบบระบบฐานข้อมูล
7 แนวข้อสอบโครงสร้างและการจัดการฐานข้อมูล
8 แนวข้อสอบระบบเครือข่ายและการสื่อสารบนเครือข่าย
9 แนวข้อสอบ พรบ.คอมพิวเตอร์  พศ.2550
10 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
 นักจัดการงานทั่วไป กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 การบริหารแผนงาน และการบริหารงบประมาณ
4 คู่มือการจัดทําเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุม
5 แนวข้อสอบการบริหารงานบุคคลากร
6 แนวข้อสอบงานพัสดุและสารบรรณ
7 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป
8  การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
4 ความรู้เกี่ยวกับแผนกลยุทธและแผนยุทธศาสตร์
5 แนวข้อสอบการวางแผนงาน โครงการและการติดตามประเมินผล
6 แนวข้อสอบการติดตามและวิจัยประเมินผลโครงการ
7 แนวข้อสอบ การบริหารแผนงาน นโยบาย โครงการ
8 แนวข้อสอบการจัดทําแผนกลยุทธ์
9 แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
10 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
นักวิชาการเงินและบัญชี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 ความรู้เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี
4 ความรู้เกี่ยวกับบัญชี การเงิน งบประมาณ
5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินการคลัง
6 แนวข้อสอบงานงบประมาณการเงินและบัญชี
7 แนวข้อสอบการจัดการภาครัฐและการวิเคราะห์การเงินและงบประมาณ
8 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
นักทรัพยากรบุคคล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 การบริหารทรัพยากรบุคคล
4 นโยบายในการบริหารทรัพยากรมนุษย์
5 แนวข้อสอบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
6 แนวข้อสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
7 แนวข้อสอบการบริหารงานบุคคลากร ชุด 1
8 แนวข้อสอบการบริหารงานบุคคลากร ชุด 2
9 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
P067 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

>>>กดไลท์ติดตามเพจงานราชการดีๆ http://goo.gl/RhUqPz
>>>ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/

##สนใจสั่งซื้อมาที่ 
>>>โทร 090-8134236 (คุณนุชจรี)  
>>>ID Line :topsheet1
มี 2 แบบ
1.แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
2.แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 


ความรู้ทั่วไป

ประวัติความเป็นมา




ความเป็นมา

ป็น หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ก่อตั้งขึ้นมา พร้อม ๆ กับการ จัดตั้ง กระทรวงสาธารณสุข นับถึงบัดนี้ เป็นเวลากว่า 50 ปีแล้ว โดยได้มี การปรับปรุงเปลี่ยน แปลงโครงสร้างหลายครั้ง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ และให้ทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลง โครง สร้างหลายครั้ง เพื่อให้เกิด ความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ และให้ทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสังคมและสิ่งแวดล้อม

มี.ค. 2485

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฏีกา จัดระเบียบราชการ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ประกอบด้วยส่วนราชการภายใน 6 กอง คือ สำนักเลขานุการ กองเคมี กองชันสูตรโรค กองโอสถศาลา (โอนมาจากกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย) กองเภสัชกรรม และโรงงาน เภสัชกรรม (โอนมาจากกรม วิทยาศาสตร์ กระทรวงเศรษฐการ) สถานที่ตั้งอยู่ที่ถนน บำรุงเมือง ยศเส
ก.ย. 2495
ได้ มีพระราชกฤษฏีกา แบ่งส่วนราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ออกเป็น 6 กองคือ สำนักเลขา นุการกรม กองโอสถศาลา กองชันสูตร ทางการแพทย์ (เปลี่ยนชื่อมาจากกองชันสูตรโรค) กองวิจัยทางแพทย์ กองวิเคราะห์ยาและกองวิเคราะห์อาหารและเครื่องดื่ม (3 กองนี้แยกมาจาก กองเภสัชกรรมเดิม) สำหรับกองเคมีได้ยุบไป เนื่องจากงานส่วนใหญ่ เป็นงานที่กรมวิทยาศาสตร์กระทรวงเศรษฐการดำเนินการอยู่แล้ว และเป็นงาน ที่ซ้ำซ้อนกันส่วนโรงงานเภสัชกรรมนั้นได้แยกออกไปเป็นรัฐวิสาหกิจ คือ องค์ การเภสัชกรรมในปัจจุบัน ในระหว่าง พ.ศ. 2506 จนถึง 2510 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ทำการทดลอง วางแผนพัฒนาปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการเป็นการภายใน เพื่อความเหมาะสมขึ้นใหม่ ดังต่อไปนี้ คือ
กองวิจัยทางแพทย์เดิมแยกออกเป็น
  • สถาบันวิจัยไวรัส
  • สถาบันวิจัยต้นไม้ยา
  • กองควบคุมชีววัตถุ
  • กองวิเคราะห์ยาเดิมแยกออกเป็น(สถาบันมาตรฐาน,กองนิติวิทยาศาสตร์)
  • กองวิเคราะห์อาหารและเครื่องดื่มเปลี่ยนเป็นสถาบันวิเคราะห์วิจัยอาหาร
กองชันสูตรทางแพทย์เดิมแยกออกเป็น
  • โรงเรียนพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สถาบันพยาธิวิทยา
  • กองชันสูตรทางแพทย์ส่วนภูมิภาค
  • หน่วยวิจัยยุงลายร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก
  • กองวิเคราะห์ยาเดิมแยกออกเป็น (สถาบันมาตรฐาน,กองนิติวิทยาศาสตร์)

นอก จากนั้นได้เริ่มงานบริการป้องกันกัมมันตภาพรังสีในฐานะของกองขึ้นเมื่อปี 2509 และงานใน หน้าที่ของกองโอสถศาลา เมื่อได้โอน ไปรวมไปรวมกับโรงงานเภสัชกรรม ตามพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม พ.ศ. 2509 ลง วันที่ 5 ส.ค. 2509 แล้วเปลี่ยนหน้าที่ของกองนี้เป็น กองบริการวิชาการแทน

พ.ศ. 2517

ได้ พระราชกฤษฏีกา แบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เมื่อ วันที่ 2 พ.ศ. 2517 โดยแบ่งส่วน ราชการ ออกเป็น 10 หน่วยงาน คือ สำนัก งานเลขานุการกรม กองพยาธิวิทยาคลินิก (เปลี่ยนชื่อมาจากกองชันสูตรทางแพทย์) กองวิเคราะห์ยา กองวิเคราะห์อาหาร กองพิษวิทยากองวิจัย ทางแพทย์ กองกีฏวิทยาทางแพทย์การป้องกันอันตรายจากรังสี กองบริการชันสูตร สาธารณสุขภูมิภาค สถาบันวิจัยไวรัส

พ.ศ. 2526

ได้ มีพระราชกฤษฏีกา แบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2533 แบ่งส่วนราช การออกเป็น 16 หน่วยงาน คือ สำนักงาน เลขานุการกรม กองกีฏวิทยาทางการแพทย์ การป้องกันอันตรายจากรังสี กองพยาธิวิทยาคลินิก กองพิษวิทยา กองมาตรฐานชันสูตรสาธารณสุข กองวิเคราะห์อาหาร กอง วิจัยทางแพทย์ สถาบันวิจัยไวรัส ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 1 สงขลา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 ชลบุรี ศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ 3 นครราชสีมา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 ขอนแก่น ศูนย์วิทยา ศาสตร์การแพทย์ 5 เชียงใหม ่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ 6 พิษณุโลก

พ.ศ. 2529

ได้ ย้ายหน่วยงานบางส่วนจากถนนบำรุงเมือง ยศเส มาอยู่ที่ อาคารสถาบันวิจัย ทางวิทยาศาสตร์สาธารณสุขแห่งชาติ จ.นนทบุรี ซึ่งได้รับความช่วยเหลือในการก่อสร้างอาคารพร้อมอุปกรณ์ จากรัฐบาลญี่ปุ่น รวมมูลค่าประมาณ 400 ล้านบาท

พ.ศ. 2533

เนื่อง จากงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้เปลี่ยนแปลงและขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งใน ด้านบริการ และ ด้านวิชาการ จึงได้มีการปรับปรุงการแบ่งส่วน ราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เสียใหม่ โดยจัดตั้งส่วน ราชการเพิ่มขึ้นพร้อมทั้งปรับปรุงชื่อส่วนราชการโดยตราเป็นพระราชกฤษฏีกา แบ่งส่วนราช การกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ พ.ศ.2533 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 แบ่งส่วนราชการเป็น 23หน่วยงาน โดย เพิ่มกอง 4 กอง และศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ 3 แห่ง คือกองชีววัตถุ กองวิเคราะห์อาหารส่งออก กองวิเคราะห์วัตถุเสพติด สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ศูนย์วิทยา ศาสตร์การแพทย์ 7 อุบลราชธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 8 ตรัง และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 9 เชียงราย นอกจากนี้ยังได้ ้เปลี่ยนชื่อกอง วิจัยการแพทย์เป็นกองวิจัยและพัฒนาสมุนไพรด้วย

พ.ศ. 2540

กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นทางด้านวิชาการและบริการจึงได้ มีการปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เสียใหม่ โดยจัดตั้งส่วนราชการเพิ่มขึ้น พร้อมทั้งปรับปรุงชื่อส่วนราชการ โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พ.ศ. 2540 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2540 แบ่งส่วนราชการออกเป็น 24 หน่วยงาน คือ สำนักงานเลขานุการกรม กองเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย กองชีววัตถุ กองแผนงานและวิชาการ กองยา กองรังสีและเครื่องมือแพทย์ กองวัตถุเสพติด กองอาหาร กองอาหารส่งออก สถาบันวิจัยสมุนไพร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อีก 12 แห่ง ประกอบด้วยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงใหม่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นครราชสีมา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สมุทรสงคราม ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี

พ.ศ. 2545

ได้ มีการปฏิรูประบบราชการและมีการปรับปรุงส่วนราชการตามกฎกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 เป็น 22 หน่วยงาน คือ สำนักงานเลขานุการกรม กองเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย กองชีววัตถุ กองแผนงานและวิชาการ กองรังสีและเครื่องมือแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สถาบันวิจัยสมุนไพร สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ สำนักยาและวัตถุเสพติด และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 12 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นครราชสีมา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงใหม่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นครสวรรค์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สมุทรสงคราม

พ.ศ. 2547

กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทางด้านวิชาการและบริการจึงได้มีการเพิ่มศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ขึ้นจาก 12 เป็น 14 แห่ง ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ภูเก็ต ซึ่งจากเดิมทั้ง 2 ศูนย์เคยเป็นสาขาของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงใหม่ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลาตามลำดับ

แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์  เป็น หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ก่อตั้งขึ้นมา พร้อม ๆ กับการ จัดตั้ง กระทรวงสาธารณสุข นับถึงบัดนี้ เป็นเวลากว่า 50 ปีแล้ว โดยได้มี การปรับปรุงเปลี่ยน แปลงโครงสร้างหลายครั้ง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับ ภาระหน้าที่ และให้ทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลง โครง สร้างหลายครั้ง เพื่อให้เกิด ความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ และให้ทันต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสังคมและสิ่งแวดล้อม
ในการสอบเข้ากรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ.  ก่อน  แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค  ก ของ ก.พ.  การสอบเข้ากรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่  2  ครั้ง   คือ  ครั้งที่  1  โดยการสอบข้อเขียน   ครั้งที่  2  โดยการสัมภาษณ์  และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่  2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม  
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ   ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน  ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม  สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม  พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด  อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน

วิชาที่ใช้สอบ มีดังนี้คือ

1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 200  คะแนน )
- ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
- ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
- กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
- ความรู้เฉพาะเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ
- ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
2. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง  ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

รายละเอียดวิชาที่สอบ
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด้านชีววิทยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2 การควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัตการ (Quality Control)
3 ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ISOIEC 17025
4 ความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา + ถามตอบ
5 ความรู้เรื่องพลาสติกและยางที่ใช้ในทางการแพทย์
6 การควบคุมคุณภาพและการทดสอบ
7 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา
8 แนวข้อสอบชีววิทยา

ตำแหน่งที่สอบ
นักวิชาการเงินและบัญชี
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด้านชีววิทยา
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์(ด้านชีวเคมี)
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์(ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์)
นักจัดการงานทั่วไป
นักเทคนิคการแพทย์
นักฟิสิกส์รังสี